ไหลตาย

อาการเสียชีวิตที่เหมือนนอนหลับแล้วเสียชีวิตไปเฉยๆ เข้าไปปลุก เขย่าตัวอย่างไรก็ไม่ฟื้น ไม่พบร่องรอยอาการทรมานหรือผิดปกติใดๆ อาจสันนิษฐานได้ว่าเป็นอาการ ไหลตาย

โรคไหลตาย คืออะไร

รศ.พญ. สิรินทร์ อภิญาสวัสดิ์ แพทย์ประจำสาขาโรคหัวใจ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุว่า อาการไหลตาย หรือ หัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของการนำเกลือแร่โซเดียมเข้าออกเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะขั้นรุนแรง และเสียชีวิตกะทันหันได้

โรคไหลตาย โรคที่พบบ่อยโดยเฉพาะในแถบภาคอีสาน ความน่ากลัวของโรคนี้คือการเสียชีวิตแบบเฉียบพลัน ที่ผู้ตายไม่มีโอกาสรู้ตัวมาก่อนเลย

สาเหตุของโรคไหลตาย

ไหลตาย

นอกจากนี้ยังพบว่า โรคไหลตายสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาวะทุพโภชนาการ และสุขนิสัยการกินที่ผิด

อาการที่สังเกตได้ สัญญาณอันตรายของโรคไหลตาย

ไหลตาย

อาการของโรคไหลตายเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและใช้ระยะเวลาสั้นก่อนที่ร่างกายจะเป็นอันตรายจนถึงชีวิต โดยใช้เวลาเพียง 3-4 นาทีเท่านั้น อาการที่สังเกตได้เมื่อมีอาการ ได้แก่

หากช่วยเหลือไม่ทันการณ์ อาจเสี่ยงเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว หรือสมองอาจพิการถาวรหากขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน

ปัจจัยเสี่ยงโรคไหลตาย

ไหลตาย

ปัจจัยส่งเสริมอาการ ไหลตาย ในผู้ที่มีความผิดปกติจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะขั้นรุนแรงจนอาจส่งผลให้เสียชีวิตได้ ได้แก่

วิธีรักษาโรคไหลตาย

หลับ

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการไหลตาย

เสียชีวิต
  1. จับผู้ป่วยนอนราบ ระหว่างรอรถพยาบาล
  2. ประเมินผู้ป่วย หากไม่หายใจหรือชีพจรที่คอไม่เต้น ให้กดหน้าอกให้ยุบลงราว 1.5 นิ้ว แล้วปล่อยให้คลายตัวเป็นชุดในความถี่ราว 100 ครั้ง/นาที จนผู้ป่วยรู้ตัว
  3. ไม่ควรงัดปากผู้ป่วยด้วยของแข็ง เพราะอาจเป็นอันตรายและระลึกเสมอว่าคนที่เป็นโรคไหลตายอาจมีโรคอื่นของสมอง เช่น ลมชัก โรคหัวใจ ที่อาจเป็นเหตุให้หมดสติได้เช่นกัน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *